
Carbohydrate Counting สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
โดย. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เกี่ยวกับรายวิชา
ความต้องการพลังงานและคาร์โบไฮเดรตของร่างกาย การเลือกประเภทอาหาร ปริมาณอาหาร ความเข้าใจฉลากโภชนาการ การวางแผนการบริโภคอาหาร การวางแผนเมนูอาหารให้หลากหลายมากขึ้น โดยใช้เทคนิคการนับคาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate Counting)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- CLOs1: ผู้เรียนสามารถระบุความต้องการพลังงานและคาร์โบไฮเดรตของร่างกายตนเองได้
- CLOs2: ผู้เรียนสามารถระบุประเภทอาหารที่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหารได้
- CLOs3: ผู้เรียนสามารถจดจำปริมาณอาหารขออาหารแต่ละหมู่ที่มีคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วนประกอบ 1 คาร์บได้
- CLOs4: ผู้เรียนสามารถวางแผนการบริโภคอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วนประกอบได้หลากหลาย
- CLOs5: ผู้เรียนสามารถเข้าใจสิ่งที่ระบุบนฉลากโภชนาการได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชา
- Length
- Price
- Level
- Target Group
- How To Pass
- Certificate
- 5 ชั่วโมงการเรียนรู้
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- ขั้นต้น
- นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ผู้มีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สนใจทั่วไป
- ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
- มี
อาจารย์ผู้สอน

- อาจารย์จิตรลดา กิตติจารุวัฒนา
- สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
