เอเชียศึกษา

โดย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เกี่ยวกับรายวิชา

การบรรยาย ในส่วนของวิชา เอเชียศึกษา ASIAN STUDIES ในส่วนของภูมิภาคเอเชียทั้งหมด  ได้อย่างถูกต้อง
2. การอธิบายถึง INTRODUTION COURSE OVERVIEW
 3. ด้านการเชื่อมโยง มีวิธีการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเอเชียศึกษา
4. ด้านการใช้งาน ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเอเชียศึกษาในทุกมิติ (การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และอื่นๆ)
5. ด้านการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงของทุกมิติของเอเชียศึกษา จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเอเชียศึกษา
6. ด้านการอภิปราย ลักษณะของกลุ่มประเทศในเอเชียศึกษาที่เกี่ยวข้องกัับความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐ-ประชาชน
7. ด้านการคาดการณ์ มีปัจจัยที่ส่งเสริมต่อการพัฒนาประเทศในกลุ่มเอเชีย และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ในมิติของภาพรวม
8. ด้านการตรวจพบ ในด้านปัญหา-อุปสรรคสำคัญของการบริหารของกลุ่มประเทศในเอเชียทั้งหมดในทุกมิติ ต่อผู้เรียนได้
9. ด้านการออกแบบ มีแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา-อุปสรรคของกลุ่มประเทศในเอเชียในทุกมิติ ต่อผู้เรียนได้

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบาย – จดจำข้อมูลที่เกี่ยวกับ SOUTHEAST  ASIA , EAST  ASIA  , SOUTH ASIA , SOUTHWEST  ASIA , CENTRAL  ASIA ได้
LO2 : ผู้เรียนสามารถที่จะเข้าใจในบริบทของภาพรวมของเอเชียศึกษาได้
LO3 : ผู้เรียนสามารถที่จะประยุกต์เนื้อหาของเอเชียศึกษาเข้ากับสถานการณ์ชีวิตประจำวันได้

LO4 : ผู้เรียนสามารถที่จะวิเคราะห์เรื่องราว – ความแตกต่างในแต่ละส่วนของเอเชียศึกษาได้

LO5 : ผู้เรียนสามารถที่จะประเมินตนเองได้หลังจากเรียนเอเชียศึกษาไปแล้ว – ตลอดจนมีแนวทาง –ความคิดสร้างสรรค์ในประเด็นของเอเชียศึกษา ตลอดจนการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ สร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่ๆได้ ( บอร์ดภูมิสถาปัตย์ )

เกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชา

อาจารย์ผู้สอน

ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนภณ ภู่มาลา

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ PSU lifelong และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”