การจัดการระบบเศรษฐกิจในภาครัฐ
เกี่ยวกับรายวิชา
ทฤษฎีและแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ พฤติกรรมผู้บริโภค อุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน การออม การลงทุน มูลค่า ราคา การจัดสรรทรัพยากร การบริโภคและอรรถประโยชน์ ปัจจัยการผลิต การแข่งขัน การค้าระหว่างประเทศ รายได้ประชาชาติ บทบาทและการดำเนินการของรัฐบาล ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐ สารสนเทศทางเศรษฐกิจเพื่อการบริหารภาครัฐ และความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กรณีศึกษาเปรียบเทียบในกลุ่ม สหภาพยุโรป และแอฟริกา ศึกษา)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- LO1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย – จดจำข้อมูลที่เกี่ยวกับการจัดการระบบเศรษฐกิจในภาครัฐ ได้
- LO2: ผู้เรียนสามารถที่จะเข้าใจในบริบทของภาพรวมของการจัดการระบบเศรษฐกิจในภาครัฐ ได้ ( EXPLAIN IDEAS OR CONCEPTS )
- LO3: ผู้เรียนสามารถผู้เรียนสามารถที่จะประยุกต์เนื้อหาของการจัดการระบบเศรษฐกิจในภาครัฐ (กรณีศึกษาเปรียบเทียบจากกลุ่มสหภาพยุโรป และแอฟริกาศึกษา)เข้ากับสถานการณ์ ชีวิตประจำวันได้) ( USE INFORMATION IN NEW SITUATIONS )
- LO4: ผู้เรียนสามารถที่จะวิเคราะห์เรื่องราว – ความแตกต่างในแต่ละส่วนของการจัดการระบบเศรษฐกิจใน ภาครัฐ ได้ ( DRAW CONNECTION AMONG IDEAS )
- LO5: ที่จะประเมินตนเองได้หลังจากเรียนการจัดการระบบเศรษฐกิจในภาครัฐ ไปแล้ว – ตลอดจนมีแนวทาง – ความคิดสร้างสรรค์ในประเด็นของกรณีศึกษายุโรป และแอฟริกา ศึกษา ( JUSTIFY A STAND OR DEDISION ) ตลอดจนการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ( PRODUCE NEW OR ORIGINAL WORK ) สร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่ๆได้ ( บอร์ดภูมิสถาปัตย์ )
เกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชา
- Length
- Price
- Level
- Target Group
- How To Pass
- Certificate
- 5 ชั่วโมงการเรียนรู้
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- ขั้นกลาง
- นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
- ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
- มี
อาจารย์ผู้สอน
- ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนภณ ภู่มาลา
- คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ