การจัดการและการช่วยชีวิตสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลเกยตื้น

โดย คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เกี่ยวกับรายวิชา

      การจำแนก ลักษณะกายวิภาค และสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล สถานภาพ ภัยคุกคาม และการเกยตื้นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล วิธีการช่วยเหลือ การประเมินสุขภาพ การจัดการและปฐมพยาบาล การจับบังคับ การขนส่ง และแนวทางการจัดการสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลเกยตื้น ความสำคัญและแนวทางการอนุรักษ์การอนุรักษ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลในประเทศไทย

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

LO1 : ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการจำแนก ลักษณะกายวิภาค และสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล
LO2 : ผู้เรียนเข้าใจสถานภาพ ภัยคุกคาม และการเกยตื้นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล
LO3 : ผู้เรียนสามารถอธิบาย วางแผน และแนะนำวิธีการช่วยชีวิตสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลเกยตื้นเบื้องต้นได้
LO4 : ผู้เรียนสามารถสังเคราะห์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง และนำไปสู่การส่งเสริมมาตรการการอนุรักษ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลในประเทศไทยได้

เกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชา

อาจารย์ผู้สอน

อ.สพ.ญ.ชญานิศ ดาวฉาย

สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ PSU lifelong และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”