การอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม
ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
โดย สถานวิจัยนวัตกรรมทางการศึกษาและการเรียนการสอนที่เป็นเลิศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เกี่ยวกับรายวิชา
เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ยอมรับความแตกต่างทางด้านวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา แต่สามารถปรับตัวเข้าหากัน อยู่ร่วมกันได้และดำเนินชีวิตในวิถีแห่งพหุวัฒนธรรม การแบ่งปัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือเกื้อกูลกันของบุคคลในชุมชนท้องถิ่น และเกิดการปฏิสัมพันธ์กันในชุมชนอย่างเป็นกันเอง และอาศัยอยู่ร่วมกันด้วยความเข้าอกเข้าใจกันและเคารพซึ่งกันและกันบนพื้นฐานของการยอมรับสิทธิเสรีภาพระหว่างกัน
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของสังคมพหุวัฒนธรรมได้ เพื่อเรียนรู้และเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
LO2 : ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมการสร้างความรู้และตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม
LO3 : ผู้เรียนเข้าใจความแตกต่างและหลากหลายทางสังคมพหุวัฒนธรรม และสามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
เกณฑ์การวัดและประเมินผลในรายวิชา
- Length
- Price
- Level
- Target Group
- How To Pass
- Certificate
- 5 ชั่วโมงการเรียนรู้
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- เบื้องต้น
- นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
- ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60
- มี